ขยับร่างกายให้อะไรมากกว่าที่คิด

ThaiSook I 2566 การเคลื่อนไหวร่างกายหรือกิจกรรมทางกาย (physical activity) หมายถึง การขยับเคลื่อนไหวร่างกายในอิริยาบถใด ๆ ที่ทำให้เกิดการใช้พลังงาน ไม่ว่าเป็นการประกอบกิจกรรมในชีวิตประจำวัน เช่น ทำงานบ้าน เดินเล่น หรือแม้แต่การเล่นดนตรีโดย World Health Organization (WHO) แนะนำว่าการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอใน 1 สัปดาห์ คือมีกิจกรรมทางกายในระดับปานกลางมากกว่า 150 นาทีขึ้นไปนั้น เป็นประโยชน์อย่างมากต่อระบบหัวใจ ช่วยป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และยังมีผลดีต่อสุขภาพจิตและสุขภาพร่างกายโดยรวมอีกด้วย คำแนะนำส่วนมากจะเน้นให้เราออกกำลังกายให้มากขึ้น หรือ เพิ่มกิจกรรมทางกาย เช่น พยายามเดินให้มากขึ้น แต่ด้วยวิถีชีวิตในปัจจุบัน งานวิจัยพบว่าเราทุกคนมีค่าเฉลี่ยการนั่งมากกว่าวันละ 7-8 ชั่วโมง ดร.มาร์ก แฮมิลตัน (Marc Hamilton) จาก University of Houston จึงตั้งคำถามว่า จะมีอะไรที่เราทำได้ง่าย ๆ และนาน ๆ ในระหว่างนั่งทำงานอยู่ได้บ้างแล้วถ้าหากทำได้ การใช้แค่กล้ามเนื้อส่วนเล็ก ๆ ที่ไม่ทำให้เราเหนื่อยและไม่มีการใช้พลังงานโดยรวมมากนัก จะส่งผลอะไรต่อระบบการเผาผลาญของร่างกายโดยรวมของเราหรือไม่ หรือแค่ทำให้กล้ามเนื้อส่วนนั้นแข็งแรงขึ้น … Read more

เส้นใยอาหารสูงดีต่อร่างกาย และคนที่อยากลดน้ำหนัก

ThaiSook I 2566 ใยอาหาร หรือ ไฟเบอร์ คืออะไร? ใยอาหารเป็นส่วนของอาหารที่มาจากพืชที่ร่างกายมนุษย์ไม่สามารถย่อยหรือดูดซึมได้ ไม่เหมือนกับสารอาหารอื่นๆ เช่น คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน แต่เส้นใยอาหารมีส่วนสำคัญในการรักษาสมดุลของระบบทางเดินอาหาร และการขับถ่าย ใยอาหารแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ อาหารที่มีกากใยช่วยลดน้ำหนักได้อย่างไร? อาหารที่มีกากใยสูงประกอบไปด้วยผักผลไม้, ธัญพืช, ธัญญาหารทั้งหลาย เช่น ข้าวโอ๊ต, ข้าวกล้อง, อาโวคาโด, เมล็ดและธัญญาหารที่มีกากใยสูง การเพิ่มการกินอาหารเหล่านี้ลงในอาหารของคุณอาจช่วยลดน้ำหนักได้ อย่างไรก็ตาม ควรรักษาระดับปริมาณอาหารให้เพียงพอต่อร่างกาย และทำกิจกรรมทางกายอื่นๆ ร่วมกับการกินกากใยด้วย ถ้าคุณมีปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนักหรือสุขภาพ ควรปรึกษาแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการเพื่อได้สุขภาพที่ดีต่อตัวเราเอง อ้างอิง ThaiSook I 2566                   

ควรทำอย่างไรคุมอาหารแล้ว”ตบะแตก”

ThaiSook I 2566 ปัญหาของคนลดน้ำหนักส่วนใหญ่ต้องเจอ คือการที่พยายามคุมอาหาร แต่คุมได้ไม่กี่วันก็ตบะแตกกลับมากินแบบเดิม ทำให้การลดน้ำหนักล้มเหลว และยิ่งลดก็ทำให้ยิ่งกินมากขึ้นไปด้วย แล้วสุดท้ายก็ล้มเลิกไป เป็นปกติที่คนเราจะปรับพฤติกรรมเพื่อสุขภาพเป็นเวลานานแล้วเกิดการ “กลับไปที่เก่า” หรือกลับไปมีพฤติกรรมการใช้ชีวิตแบบเดิม ที่เป็นต้นเหตุของปัญหาทางสุขภาพ วันนี้แอดมินจะมาแนะนำแนวทาง และเคล็ดลับจาก สสส. ที่ทำให้เราสามารถรักษานิสัยที่ดีต่อสุขภาพอย่างต่อเนื่องเอาไว้ได้ 1. ตั้งเป้าหมายที่มีความสมเหตุสมผลมองถึงปัญหาทางสุขภาพตนเอง เราควรประเมินสุขภาพของตนเอง เพื่อทดทวนถึงปัญหาทางสุขภาพของตนเอง ตั้งเป้าหมายว่าต้องทำอะไรบ้าง และทำการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามเป้าหมายที่เราตั้งไว้เพื่อสุขภาพดี ก็สามารถทำให้เป้าหมายในการปรับพฤติกรรมสำเร็จได้ 2. วางแผนการรับประทานอาหาร เมนูอาหารหรือเตรียมการล่วงหน้า วางแผนล่วงหน้าว่าจะกินอะไรในแต่ละมื้อจะทำให้เราควบคุมปริมาณอาหารง่ายขึ้น เนื่องจากเราสามารถวางแผนในการซื้ออาหารได้ และลดความเสี่ยงของการซื้ออาหารแบบหุนหันพลันแล่น สิ่งนี้สามารถช่วยรักษาพฤติกรรมการกินที่ดีต่อสุขภาพเพื่อผลลัพธ์ด้านสุขภาพที่ดีขึ้น 3. อย่าจำกัดตนเองมากเกินไป การควบคุมอาหารเราไม่จำเป็นต้องจำกัดตนเองมากเกินไป เช่น อาหารบางชนิดที่เราชอบแต่ไม่ดีต่อสุขภาพ เราก็ไม่จำเป็นต้องงดมันไปเลย แทนที่เราจะงดอาหารเหล่านี้ เราสามารถปรับลดปริมาณอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพที่เราชอบลง และเพิ่มอาหารเพื่อสุขภาพ โดยใช้หลักการ “ปรับ” แทน “งด” ก็สามารถเลือกกินได้อย่างมีความสุข และดีต่อสุขภาพทั้งกายและใจ 4. อย่าผูกติดการให้รางวัลกับตนเองกับการกินสิ่งที่ชอบจนลืมเรื่องสุขภาพ หลายคนมักให้รางวัลกับตนเองเมื่อประสบความสำเร็จด้านต่างๆ ด้วยการ “กิน” ซึ่งความเป็นจริงนับว่าเป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เพราะฉะนั้นการให้รางวัลตนเองควรเปลี่ยนไปในทางอื่นๆ เช่น อุปกรณ์กีฬาที่ชอบ … Read more

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – การทรงตัว (Balance)

Single leg balance test การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการทดสอบ Single leg balance test ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) อุปกรณ์ทดสอบ วิธีการทดสอบ อ้างอิงภาพ : Sing Leg Balance Test nell’ ottica delle Catena Miofasciall (spine-center.it) ค่ามาตรฐานเฉลี่ย ปกติของการทดสอบ Single leg balance test อายุ (ปี) ยืนขาเดียว พื้นเรียบ เปิดตา (วินาที) 18-39 43 40-49 40.3 50-59 37 60-69 26.9 อ้างอิง: ThaiSook I 2566

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – ความอ่อนตัว (Flexibility)

การทดสอบแตะมือด้านหลัง (Back scratch test) การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการทดสอบแตะมือด้านหลัง (Back scratch test) ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) การเตรียมตัวก่อนทดสอบ ให้ผู้รับการทดสอบทำการยืดเหยียด กล้ามเนื้อบริเวณไหล่ สะบัก หน้าอกและแขน อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ : ไม้บรรทัดหรือสายวัด ที่แบ่งระยะเป็นเซนติเมตร วิธีการปฏิบัติ ที่มา : สสส. ข้อควรระวัง/ข้อแนะนำเพิ่มเติม ขณะเหยียดปลายมือทั้ง 2 ข้างเข้าหากัน ห้ามงอนิ้วมือมาเกี่ยวหรือดึงกัน เกณฑ์มาตรฐาน การทดสอบแตะมือด้านหลัง (เซนติเมตร) ที่มา : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) อ้างอิง: เอกสารประกอบการอบรมเพื่อเติมเต็มศักยภาพฯ ภายใต้โครงการพัฒนาแนวทางการขยายผลกระบบการสร้างเสริมสุขภาพแบบเข้มข้นจำเพาะคน โดย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน วันที่ 11 -13 มกราคม 2566 ThaiSook I 2566

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – ความอ่อนตัว (Flexibility)

YMCA หรือ V-sit-and-reach การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการทดสอบ YMCA หรือ V-sit-and-reach ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) การเตรียมตัวก่อนทดสอบ ยืดเหยียดกล้ามเนื้อบริเวณหลัง ต้นขาด้านหลังสะโพก และไหล่ก่อนทำการทดสอบ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ ไม้เมตร หรือเทปวัดระยะทาง ยาวไม่น้อยกว่า 25 นิ้ว แทนกล่องทดสอบ โดยการติดไม้เมตรไว้บนพื้น และใช้เทปกาวติดขวางเป็นมุมฉากที่ระยะทาง 15 นิ้ว โดยที่เทปกาวจะยาวประมาณ 10 นิ้ว วิธีปฏิบัติ ข้อควรระวัง/ข้อแนะนำเพิ่มเติม ที่มา : สสส. ค่าเกณฑ์มาตรฐาน อ้างอิง: ThaiSook I 2566

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – ระบบไหลเวียนโลหิตและหายใจ

การทดสอบด้วยการเดิน 6 นาที (6 Minute walk test; 6MWT) การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการทดสอบด้วยการเดิน 6 นาที (6 Minute walk test; 6MWT) ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) การเตรียมตัวก่อนทดสอบ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ วิธีการปฏิบัติ ข้อควรระวัง/ข้อแนะนำเพิ่มเติม ค่าเกณฑ์มาตรฐาน คนปกติมีค่าเฉลี่ย 6MWD ประมาณ 536-560 เมตร ค่ามัธยฐานสำหรับเพศชาย และเพศหญิงเท่ากับ 576 และ 494 เมตร ตามลำดับ *Moderate to strong correlations exist (r=0.56 to r=0.88) between the 6MWT distance and peak VO2 … Read more

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – ความแข็งแรงและความทนทานของกล้ามเนื้อ ทดสอบดันพื้น

การทดสอบดันพื้น (Push up) การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการทดสอบดันพื้น (Push up) ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) การเตรียมตัวก่อนทดสอบ ยืดเหยียดกล้ามเนื้อบริเวณหลังแขน และไหล่ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ วิธีการปฏิบัติ ข้อควรระวัง/ข้อแนะนำเพิ่มเติม ค่าเกณฑ์มาตรฐาน อ้างอิง: เอกสารประกอบการอบรมเพื่อเติมเต็มศักยภาพฯ ภายใต้โครงการพัฒนาแนวทางการขยายผลกระบบการสร้างเสริมสุขภาพแบบเข้มข้นจำเพาะคน โดย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน วันที่ 11 -13 มกราคม 2566 ThaiSook I 2566

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – ความแข็งแรงและความทนทานของกล้ามเนื้อ ลุกยืนเก้าอี้

การทดสอบลุกยืนเก้าอี้ (Sit to stand) การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการทดสอบลุกยืนเก้าอี้ (Sit to stand) ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) การเตรียมตัวก่อนทดสอบ ยืดเหยียดกล้ามเนื้อบริเวณต้นขาด้านหน้าก่อนทำการทดลอง อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ 2. นาฬิกาจับเวลา วิธีการปฏิบัติ ข้อควรระวัง/ข้อแนะนำเพิ่มเติม ค่าเกณฑ์มาตรฐาน ที่มา : กรมพลศึกษา. (2560).คู่มือแบบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐาน สมรรถภาพทางกาย ของเด็ก เยาวชน และประชาชนไทย อ้างอิง: ThaiSook I 2566

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย – การวัดองค์ประกอบของร่างกาย

การวัดองค์ประกอบของร่างกาย (ฺBody composition analysis) การทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการประเมินสุขภาพ และความสามารถทางร่างกายของแต่ละคน จะวัดได้จากการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ของร่างกาย วันนี้แอดมินจะมาพูดถึงการวัดองค์ประกอบของร่างกาย (Body composition analysis) ร่วมถึงการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายอื่นๆ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ ( คลิก ) อุปกรณ์ที่ใช้ วิธีการทดสอบ ตัวอย่าง เช่น ผู้รับการทดสอบมีน้ำหนักตัว 50 กิโลกรัม มีส่วนสูง 1.62 เมตร ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) = 50/1.622                                  = 50/2.62                            = 19.08 กิโลกรัม/ตารางเมตร   5. วัดเส้นรอบเอวในหน่วยเซนติเมตร ในท่ายืนเท้า 2 ข้าง ห่างกันประมาณ 10 เซนติเมตร วัดที่ตรงระดับสะดือพอดี โดยควรวัดใน ช่วงหายใจออก ให้สายวัดแนบกับลำตัว ไม่รัดแน่นทำให้ระดับของสายวัดรอบเอวอยู่ในแนวขนานกับพื้น 6. วัดเส้นรอบสะโพกในหน่วยเซนติเมตร ในท่ายืนเท้า … Read more